ทีมนักวิจัยของสถาบันวิจัยบาบราแฮม (Babraham Institute) เมืองแคมบริดจ์ (Cambridge) ประเทศอังกฤษ ได้พัฒนาเทคนิคที่สามารถเปลี่ยนนาฬิกาชีวภาพของเซลล์ผิวหนังที่แก่ชราให้กลับอ่อนเยาว์และมีคุณสมบัติเทียบเท่ากับเซลล์ผิวหนังที่อายุน้อยกว่าถึง 30 ปี โดยสร้างจากเซลล์ต้นกำเนิดหรือสเต็มเซลล์ (Stem Cell)…
ภัยคุกคามกับอนาคตของผึ้งและแมลงผสมเกสร
ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศสหรัฐอเมริกาประสบปัญหาโรคระบาดร้ายแรง ที่ชื่อว่า “โรคหนอนเน่าอเมริกัน” (American Foulbrood Disease) เป็นโรคติดเชื้อแบคทีเรียชื่อว่า Paenibacillus larvae ในระยะตัวอ่อนของผึ้ง ซึ่งมีจุดกำเนิดในประเทศสหรัฐอเมริกา…
ไม้สัก (Tectona grandis Linn. F.) เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ผลัดใบในช่วงฤดูร้อน และเป็นไม้ที่มีมูลค่าสูงของประเทศไทย แต่มีปัญหาแมลงศัตรูทำลายเนื้อไม้ที่สำคัญคือผีเสื้อหนอนเจาะต้นสัก (Xyleutes ceramicus Walker) เนื้อไม้เกิดรูตำหนิ และมีคุณภาพลดลง ปัจจุบันยังคงพบการระบาดอยู่ในแถบจังหวัดเชียงราย เชียงใหม่…
Laos is one of the most undersampled areas for ant biodiversity. We begin to address this knowledge gap by presenting the first checklist of Laotian ants. The list is based on a literature review and on specimens collected from several localities in Laos. In total, 123 species with three additional…
This research investigates the cultural factors affecting the use of interactive science exhibits including interactive science and technology exhibits (ISTEs) by visitors to science museums worldwide. Visitors bring differing characteristics and experiences to bear upon the task of using these…
งานวิจัยนี้ศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาสื่อจัดแสดงสิ่งประดิษฐ์ด้านการมองเห็นสำหรับผู้เข้าชมพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์โดยที่การจัดแสดงสิ่งประดิษฐ์ที่มีความสำคัญและเคยใช้ในอดีตประเภทอุปกรณ์ที่ช่วยในการมองเห็น แสดงถึงก้าวย่างการพัฒนาทางเทคโนโลยีสิ่งประดิษฐ์…
ศาสตราจารย์ ดร. วิรุฬห์ สายคณิต เกิดวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ.2483 จบการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาฟิสิกส์ เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง จากคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และระดับปริญญาเอกสาขาฟิสิกส์ทฤษฎี จาก Institute of Theoretical Physics, Gothenburg, Sweden
ศาสตราจารย์ วิรุฬห์ สายคณิต…
รวบรวมนักวิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ จากฐานข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานภาครัฐด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ https://stdb.mhesi.go.th/
ดร.บัญชา ธนบุญสมบัติ จบปริญญาตรีสาขาฟิสิกส์ จากคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโทและปริญญาเอก สาขาโลหะวิทยา ที่ภาควิชาวัสดุศาสตร์และวิศวกรรม (School of Materials Science and Engineering) สถาบันเทคโนโลยีแห่งรัฐจอร์เจีย (Georgia Institute of Technology) ประเทศสหรัฐอเมริกา…
ศ.ดร. พิชัย สนแจ้ง มีประสบการณ์หัวข้อ Earth Philosophy, Man on Earth, etc. วิทยาศาสตร์ยุคใหม่ก้าวไกลสู่ระดับโลก
เอกลักษณ์ศิลปะผ้าทอเชียงแสนที่มีลวดลายสีสันที่เป็นรูปแบบเฉพาะ เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่แสดงออกถึงภูมิปัญญาของผู้คนในท้องถิ่น
จัดแสดงที่พิพิธภัณฑ์ผ้าทอเชียงแสน (ภายในวัดพระธาตุผาเงา) บ้านสบคำ หมู่ที่ 5 ต าบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมที่ https://www.google.com/url?sa=t…
ชวนหวนระลึกถึงวันสำคัญของวันนี้…วันนี้เมื่อ 154 ปีก่อน (18 สิงหาคม 2411) ได้เกิดสุริยุปราคาเต็มดวงที่หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปรากฏการณ์ครั้งนั้น ได้พิสูจน์พระอัจฉริยภาพ ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ให้เป็นที่ประจักษ์…
บทวิเคราะห์อันดับขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย ด้านโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ และด้านการศึกษา ประจ าปี 2562 จากรายงาน IMD World Competitiveness Yearbook 2019
ศึกษาข้อมูลได้ที่
https://stiic.sti.or.th/wp-content/uploads/2019/07/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%84%E0…
https://minister.mhesi.go.th/?fbclid=IwAR0-50zLuSKhUtMnafc0MV5i19S12TjpM5YTbRLvpa45ao9WADTMxGlGLoo
https://essthailand.in.th/