ดอกไม้กินได้ (Edible Flower)
เรื่องราวของดอกไม้กินได้ หรือ Edible Flower มีมานานมากแล้ว ตั้งแต่ในอดีตเรานำพืชชนิดต่าง ๆ มาประกอบอาหาร โดยเรารับประทานแทบทุกส่วนของพืช ไม่ว่าจะเป็นใบที่เรานิยมนำมากินเป็นส่วนใหญ่ ส่วนของลำต้น หรือแม้แต่ส่วนของราก…
ที่ผ่านมา หลายประเทศเริ่มอนุญาตให้มีการนำกัญชามาใช้ในการแพทย์ จนไม่กี่ปีมานี้บางประเทศได้เปิดให้มีการใช้กัญชาเสรีแล้ว ทำให้มีนักวิทยาศาสตร์จำนวนมากหันมาสนใจศึกษาฤทธิ๋ทางเภสัชวิทยา (Pharmacology) และพิษวิทยา (Toxicology) ของกัญชามากขึ้น เพื่อให้กัญชาถูกนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ และปลอดภัยอย่างสูงสุด…
โรคซึมเศร้า (Major Depressive Disorder หรือ MDD) เป็นโรคทางจิตเวชที่เกิดจากความผิดปกติของสารสื่อประสาทในสมอง สามารถรักษาให้หายได้โดยการเข้าพบจิตแพทย์ เพื่อพูดคุยให้คำปรึกษา การทำกิจกรรมจิตบำบัด (Psychotherapy) แบบรายบุคคลและแบบกลุ่ม ร่วมกับการใช้ยา ซึ่งพิจารณาตามความเหมาะสมของผู้ป่วยแต่ละคน…
เมื่อ 19 ตุลาคม 2566 เกิดปรากฏการณ์ออโรราหรือแสงขั้วโลก (Aurora Polaris) ที่มีสีส้มฟักทองขึ้น ที่รัฐแอลเบอร์ตา ประเทศแคนาดา ทำให้ผู้เชี่ยวชาญเรื่องแสงขั้วโลกต่างประหลาดใจกับการปรากฏของแสงเหนือในลักษณะนี้ เนื่องจากเป็นสีที่ไม่ได้เกิดขึ้นตามปกติ โดยส่วนใหญ่แสงขั้วโลกมักจะพบเห็นเป็นสีเขียว สีแดง…
โรคซึมเศร้าถือเป็นโรคด้านสุขภาพจิตอันดับต้นของประเทศไทย และบางกรณีก็ส่งผลการเสียชีวิต ปี 2017 มีการประเมินว่า ประชากรโลกเกือบ 11% หรือราว 8 ล้านคนมีปัญหาด้านสุขภาพจิต และในจำนวนนี้เป็นผู้ป่วยโรคซึมเศร้ากว่า 33 % หรือราว 2,600,000 คน
อารมณ์..ภาวะ..และโรคซึมเศร้า
“อารมณ์เศร้า”…
การเติบโตขึ้นอยู่กับประสบการณ์ ไม่ใช่ขนาดตัว มีจริงหรือ???
กบพาราด็อกซิคัล (paradoxical frog) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pseudis paradoxa เป็นกบสัญชาติอเมริกาใต้ชอบอาศัยอยู่ตามแม่น้ำ ทะเลสาบ และหนองน้ำ ชื่อของมันมาจากคำว่า “paradox” ที่มีความหมายว่า “ย้อนแย้ง” โดยทั่วไปแล้ว…
บนโลนี้มีสิ่งมีชีวิตที่แปลกประหลาดอยู่มากมาย แต่จะมีพืชสักกี่สายพันธุ์ที่เดินได้ หรือจะมีสัตว์สักกี่สายพันธุ์ที่สังเคราะห์แสงได้!
เจ้า “ทากใบไม้” Elysia chlorotica เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีทั้งสองสิ่งที่กล่าวมาในตัวเดียวกัน จึงได้ฉายานามว่า “ครึ่งสัตว์-ครึ่งพืช” ชนิดแรกของโลก!
เจ้าทากทะเลน้ำเค็ม (Sea…
ใครว่าศิลปะกับวิทยาศาสตร์เป็นสิ่งที่อยู่ตรงข้ามกัน แท้จริงแล้วสองสิ่งนี้ไม่สามารถแยกจากกันได้อย่างสิ้นเชิง จะเห็นตัวอย่างจาก ลีโอนาร์โด ดา วินชี (Leonardo da Vinci) ศิลปินยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ (Renaissance) ช่วงศตวรรษที่ 15-16 ผลงานของเขามักจะแฝงไปด้วยวิทยาศาสตร์…
จากนิยาย Sci Fi กลายเป็นหุ่นยนต์มีชีวิต อนาคตของหุ่นยนต์อาจไม่ใช่แค่เหล็กและสายไฟ แต่เป็น "สิ่งมีชีวิต" นักวิทยาศาสตร์กำลังพัฒนาเทคโนโลยี ไบโอไฮบริด (Biohybrid) ที่นำเอาพืชและเชื้อรามาผสานกับเครื่องจักร เพื่อให้พวกมันรับรู้สภาพแวดล้อมและซ่อมแซมตัวเองได้
…
“มนุษย์เป็นสัตว์เลือดอุ่น” อุณหภูมิในร่างกายจะคงที่ ไม่เปลี่ยนแปลงไปตามสภาวะอากาศ แต่คุณเคยสงสัยหรือไม่ว่า ร่างกายเราทำได้อย่างไร ร่างกายเรารู้ได้อย่างไร มีอะไรที่สั่งให้ร่างกายควบคุมอุณหภูมิตนเองให้คงที่
“37” คืองานของร่างกาย
ไม่ว่าเราจะอยู่ในสภาวะอากาศแบบใด หนาวยะเยือกแบบติดลบ…
การที่มนุษย์เป็นสัตว์เลือดอุ่น ก็จะมีกระบวนการรักษาอุณหภูมิในร่างกายให้คงที่ในช่วง 36.5-37.0 องศาเซลเซียส ไม่ว่าสภาวะอากาศภายนอกจะเป็นเช่นไร จากตอนที่ 1 เราได้รู้กระบวนการเมื่อร่างกายเผชิญกับสภาวะความร้อนที่สูงกว่า 37 องศาเซลเซียสไปแล้ว…
ดวงตาที่อยู่ในสัตว์สตัฟฟ์ เป็นของจริงหรือของปลอมกันแน่
หาคำตอบได้ที่ https://www.nsm.or.th/nsm/th/node/44758
อุโมงค์นิรภัยเมล็ดพันธุ์พืชโลกสฟาลบาร์ (Svalbard Global Seed Vault) เปรือบเสมือนเรือโนอาห์ที่เก็บรักษาหัวและเมล็ดพันธุ์พืช เพื่อสำรองเก็บไว้ใช้ในอนาคต
เมื่อกล่าวถึงโรคระบาดที่น่าสะพรึงกลัวในอดีต โรคเรื้อน (Leprosy) เป็นโรคที่มีการระบาดรุนแรงในประวัติศาสตร์โลก และไทย แต่เมื่อวันเวลาผ่านไป ความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ และสาธารณสุข ทำให้คนทั่วโลกลืมความน่ากลัวของโรคเรื้อนไปจนหมดสิ้น
Inspiration 4 เที่ยวบินที่ 128 ของจรวดรุ่นใหม่ล่าสุดอย่าง ฟอลคอน 9 (Falcon-9) เป็นหนึ่งในโครงการอีกมากมายของบริษัทเอกชนทางด้านธุรกิจการขนส่งทางอวกาศ SpaceX ซึ่งภารกิจนี้ถือเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของโลก