ใยแมงมุมมีขนาด 2-3 เท่าของความยาวคลื่นของแสงในช่วงที่เรามองเห็นได้ ขนาดพอเหมาะต่อการเกิดการแทรกสอด แสงที่ตกกระทบใยแมงมุมเกิดกระเจิดกระเจิงในทุกทิศทาง คลื่นแสงบางความยาวคลื่นเคลื่อนที่ทะลุผ่านใยไปได้อย่างช้าๆ ในขณะที่บางความยาวคลื่นเคลื่อนที่ผ่านช่องว่างระหว่างใย บางความยาวคลื่นถูกสะท้อนไปมา…
เมื่อประมวลภาพ 3 มิติ ของซากดึกดำบรรพ์ Premaxilla ไดโนเสาร์ซอโรพอด
โดยอาศัยความแตกต่างของความหนาแน่นระหว่างกระดูกกรามบนและฟัน
ทำให้ภาพออกมาไล่เฉดสีเหมือนกาแล็คซี่ที่มีฟันเรียงรายอยู่ภายใน โดยภายในของ Premaxilla นั้น
เผยให้เห็นฟันใหม่ที่กำลังจะขึ้นแทนที่ฟันชุดเก่าจำนวนหลายซี่…
หยาดน้ำค้าง (Drosera peltata Thunb) วงศ์ Droseraceae หนึ่งในพืชกินแมลงที่พบในประเทศไทย มีความงดงามแปลกตา บริเวณใบจะมีขนเล็ก ๆ ส่วนปลายมีหยดน้ำเหนียวใสประกายระยิบระยับ ทำไมพืชถึงกินแมลง นั่นก็เพราะว่าพืชในกลุ่มนี้ ส่วนใหญ่มักจะขึ้นอยู่ในพื้นที่หรือบริเวณที่แร่ธาตุสารอาหารค่อนข้างน้อย…
เรามีการเรียนรู้จากการระบาดของไวรัสโควิด 19 ระลอกแรก เราได้ปรับเปรียนข้อปฏิบัติในสังคมเข้าสู่ความปกติรูปแบบใหม่ หรือ New Normal
การสวมหน้ากากอนามัย การเว้นระยะห่าง การรักษาความสะอาดในแต่ละสถานที่ รวมถึงในระบบคมนาคมพื้นฐานที่มีผู้ใช้บริการจำนวนมากในแต่ละวัน
อาจจะเป็นพาหะการแพร่กระจายไปยังที่ต่างๆ…
เมื่อโควิด-19 ระบาด ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาเร็วขึ้นกว่าเดิม โควิด-19 กดดันให้ต้องเปลี่ยนมาใช้ชีวิต และการรวมกลุ่มกันทางไซเบอร์ การเรียนการสอนต้องปรับตัวครั้งใหญ่ เป็นการแปลงรูปไปตามเทคโนโลยีดิจิทัลที่พัฒนาขึ้น ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเรียนการสอนเร็วขึ้น…
นิทรรศการเสมือนจากงานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (NST Fair) ประกอบด้วย นิทรรศการเทิดพระเกียรติพระบิดาวิทยาศาสตร์ไทย, นิทรรศการพระบิดาแห่งเทคโนโลยีและนวัตกรรม, นิทรรศการเทิดพระเกียรติพระบรมวงศานุวงศ์, Thailand GI (Geographical Indicaiton), Fig festivals, Thailand smart agro, Digital now, Waste…
ศูนย์นวัตกรรมแห่งอนาคต Virtual Futurium สร้างขึ้นมาเพื่อเตรียมความพร้อมให้กับเยาวชนใช้เป็นแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม่ 7 นวัตกรรม ได้แก่ นวัตกรรมการคมนาคมและขนส่ง นวัตกรรมการเกษตรอัจฉริยะ นวัตกรรมหุ่นยนต์ระบบอัตโนมัติ นวัตกรรมการจัดการสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ…
นิทรรศการในพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ แต่ละชั้นประกอบด้วย สาระดังนี้
ชั้นที่ 1 นักวิทยาศาสตร์รุ่นบุกเบิก กิจกรรมเสริมศึกษา โลกของหนูน้อยนักประดิษฐ์ (Enjoy Maker Space), Engineering Design, ภาพยนตร์วิทยาศาสตร์แบบโดม, การแสดงทางวิทยาศาสตร์ และนิทรรศการหมุนเวียน
ชั้นที่ 2…
พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเปิดให้บริการในปี พ.ศ. 2546 เพื่อให้เป็นศูนย์กลางการศึกษาวิจัยด้านธรรมชาติวิทยาและวัสดุอุเทศน์ของประเทศไทยและกลุ่มประเทศอาเซียนใกล้เคียง และยังเป็นศูนย์จัดแสดงนิทรรศการความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งนำเสนอตั้งแต่การกำเนิดโลก สู่การกำเนิดของสรรพสิ่งและสิ่งมีชีวิต
พิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ จัดแสดงนิทรรศการเกี่ยวกับความรู้ ประโยชน์ และความสำคัญของเทคโนโลยีการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเตรียมคนไทยสู่สังคมดิจิทัล สร้างความตระหนักรู้เท่าทันเทคโนโลยีซึ่งเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการพัฒนาประเทศ
พิพิธภัณฑ์จัดแสดงนิทรรศการและกิจกรรมที่แสดงถึงวิวัฒนาการของโลกและสิ่งมีชีวิต ระบบนิเวศ และความหลากหลายทางชีวภาพในแต่ละภูมิภาคของโลกรวมถึงประเทศไทย
รวมสมาชิก อพวช. สัมพันธ์ ฉบับที่ 24 ปีที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2547 ฉบับที่ 25 ปีที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2547 และฉบับที่ 31 ปีที่ 3 ประจำเดือนธันวาคม 2547
วาสาร อพวช. ฉบับที่ 54 ปีที่ 5 ประจำเดือนธันวาคม 2549
วิจัยพบ ใช้พลาซีโบแบบทางไกลกับผู้ป่วยที่รู้ทั้งรู้ว่ากินยาหลอก ก็ยังช่วยทุเลาอาการได้
วันที่ 23 สิงหาคมที่ผ่านมา เว็บไซต์ของ Sciencedaily รายงานผลงานวิจัยของ Michigan State University ที่ศึกษาการใช้พลาซีโบหรือยาหลอกแบบเปิดเผยข้อมูลกับผู้เข้าร่วมทดลองที่มีภาวะความเครียด…
ซากมหึมาของเรือไททานิก กำลังแสดงสัญญานแห่งความผุกร่อนและกลับคืนสู่ธรรมชาติ
วันที่ 8 กันยายนที่ผ่านมา เว็บไซต์ BBC เผยแพร่บทความเกี่ยวกับซากเรือไททานิกที่กำลังผุกร่อนจากปัจจัยหลายอย่างร่วมกัน และคาดว่าอีกหลายร้อยปีต่อจากนี้ ไททานิกอาจจะไม่เหลืออะไรให้เราดูนอกจากพวกกระเบื้องเซรามิก…