อุทยานพฤกษศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ตั้งอยู่ในพื้นที่เขตอนุรักษ์ของมหาวิทยาลัยลักษณ์ มีพื้นที่ประมาณ 1,350 ไร่ รองรับการบริการวิชาการ และเป็นแหล่งเรียนรู้ตามอัธยาศัย ให้แก่นักเรียน นักศึกษา บุคคลทั่วไปเข้ามาใช้บริการ รวมไปถึงการดำเนินการเป็นแหล่งท่องเที่ยวให้กับจังหวัดนครศรีธรรมราช …
ถ้าอยากพักใจให้ช้าลง ลองมา “โหน” ไปพร้อมกับเจ้า สลอธ กันดีกว่า! เจ้าสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมตัวนี้มีชื่อวิทยาศาสตร์สุดเท่ว่า Bradypus variegatus เป็นญาติกับตัวนิ่มและนางอาย บ้านของมันก็อยู่กลางป่าดิบชื้นในอเมริกากลางและใต้ ใครจะรู้ว่าโลกนี้มีสลอธตั้ง 6 สายพันธุ์ แบ่งเป็นแบบ 2 นิ้ว และ 3 นิ้ว…
หลายครั้งนักชีววิทยาก็แอบใส่กิมมิกเท่ๆลงไปในชื่อปลา วันนี้พี่ Nat. จะพาทุกคนไปรู้จัก ปลา 2 ชนิด ที่ได้แรงบันดาลใจจาก เทพเจ้ากรีก แห่งยอดเขาโอลิมปัส นั่นคือ ซีอุส (Zeus) และ เฮรา (Hera) ซึ่งในตำนาน ซีอุสเป็นประมุขแห่งเทพทั้งปวง ส่วนเฮรา เป็นเทพีผู้เลอโฉมและขึ้นชื่อเรื่องความหวงสามี (…
“ฉลาม...ผี! ใต้ทะเลลึก”
ถ้าพูดถึง “ฉลาม” หลายคนคงนึกถึงเจ้าปลาฟันแหลมว่ายฉิว แต่ว่า ฉลามผี หรือ Ghost Shark ตัวนี้หน้าตาชวนฉงนสุด ๆ! หัวมนโต ตาใสแวววาวสะท้อนแสงเขียวหรือน้ำเงินยามว่ายในน้ำลึก รูปร่างเพรียวยาว หางบางเหมือนหนู ครีบอกใหญ่โบกพัดราวกับกำลังบิน นี่แหละที่ทำให้มันได้อีกชื่อว่า Rat Fish…
Mega-Bites! แรงกัดระดับตำนานของ “ปิรันยาดำ”
ถ้าพูดถึงปลานักล่าในน้ำจืด หลายคนคงนึกถึงเจ้าปิรันยาฟันแหลมผู้หิวโหย แต่ในตระกูลนี้มีหนึ่งตัวที่แรงกัดเหนือกว่าใคร นั่นคือ ปิรันยาดำ (Black Piranha) หรือชื่อวิทยาศาสตร์ Serrasalmus rhombeus ที่ไม่ได้มาแค่รูปลักษณ์ดุดัน…
“จู๋…ใหญ่ใต้ทะเล!” เอ๊ะ!? ฟังแล้วสะดุ้งกันใช่มั้ยล่ะ ใต้ทะเลจะมีอะไรแบบนี้ด้วยหรอ? ช่วงนี้หลายคนน่าจะเคยเห็นคลิปไวรัลใน YouTube หรือ Facebook ที่มีคนกิน "หอยหน้าตาแปลก ๆ" กันใช่มั้ย พี่ Nat. เหน่ง ขออาสาพาทุกคนมารู้จักเจ้าหอยนี้กัน!
หอยกูอีดั๊ก (Geoduck) เป็นหอยสองฝา (Class Bivalvia)…
“ศิลปะแห่งหินเทียมจำลอง”
การทำหินเทียมจำลอง เป็นอีกหนึ่งศาสตร์และศิลป์ที่นิยมใช้ในงาน Diorama โดยเฉพาะการจัดแสดงถิ่นอาศัยของสัตว์สตัฟฟ์ เพื่อสร้างบรรยากาศสมจริงที่สุด ศิลปินจะต้องมีความเข้าใจลักษณะทางธรรมชาติของหิน ทั้งผิวสัมผัส สีสัน และรูปทรง วัสดุที่ใช้มีหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นเรซิ่น…