ชุมชนบ้านดงผาปูนเป็นพื้นที่ภูเขาและป่าต้นน้ำที่เคยประสบปัญหาน้ำหลากและดินโคลนถล่ม ชุมชนได้ดำเนินงานอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าต้นน้ำ สร้างฝายชะลอความชุ่มชื้น และมีกฎกติกาในการดูแลรักษาป่าร่วมกัน ทำให้ลำห้วยที่เคยแห้งกลับมีน้ำไหลตลอดปี ระบบนิเวศกลับมาอุดมสมบูรณ์…
ชุมชนบ้านหนองตาจอน ตำบลทุ่งหลวง อำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี ประสบปัญหาความแห้งแล้งและป่าต้นน้ำเสื่อมโทรมมานานกว่า 29 ปี ชุมชนได้ทูลเกล้าฯ ถวายฎีกาขอพระราชทานความช่วยเหลือ และในปี พ.ศ. 2550 ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานแนวทางแก้ปัญหาเรื่องน้ำ…
การบริหารจัดการน้ำชุมชนบ้านปากซวดเริ่มจากการบุกรุกตัดไม้ทำลายป่าในปี พ.ศ. 2523 – 2530 ทำให้น้ำขาดแคลน ชาวบ้านจึงรวมตัวกันสร้างฝายกักเก็บน้ำในลำคลองบางครก โดยไม่มีหน่วยงานช่วยเหลือ จนกระทั่งปี พ.ศ. 2553 ชุมชนได้เข้าร่วมประชุมกับสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (สสนก.)…
กลุ่มผู้ใช้น้ำอ่างเก็บน้ำห้วยทรายในตำบลเขื่อนผาก อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ประกอบด้วยประชากร 2,104 คน จาก 4 หมู่บ้าน ซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่แห้งแล้งและมีลำห้วยทรายเป็นแหล่งน้ำหลัก แต่ปริมาณน้ำไม่เพียงพอ ชุมชนจึงทูลเกล้าถวายฎีกาขอสร้างอ่างเก็บน้ำ และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ…
ชุมชนบ้านศาลาดิน ตำบลมหาสวัสดิ์ อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม เคยประสบปัญหาความยากจนเนื่องจากไม่มีที่ดินทำกิน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทานที่ดิน 1,009 ไร่ ให้เกษตรกรในปี พ.ศ. 2518 และพระราชทานแนวพระราชดำริหลักเศรษฐกิจพอเพียงและการเกษตรแบบผสมผสานในปี พ.ศ. 2520…
ชุมชนบ้านตะโล๊ะเริ่มพัฒนาจากภูมิปัญญาชาวบ้าน ต่อมา สภาเกษตรกรจังหวัดยะลาได้นำเยาวชนที่ขาดโอกาสทางการศึกษามาเรียนรู้การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและการทำเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ โดยมีโรงเรียนพระดาบสและสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ (สสน.) เป็นผู้จัดการเรียนรู้…
ชุมชนป่าภูถ้ำภูกระแตประสบปัญหาความแห้งแล้งซ้ำซากมากว่า 40 ปี โดยมีช่วงแล้งต่อเนื่อง 4 ปี สลับกับฝนตก 2 ปี การพัฒนาที่ผ่านมามักขุดดองที่ลอนคลื่นต่ำ ทำให้น้ำไหลไปรวมที่ต่ำ การนำน้ำจากที่ต่ำขึ้นที่สูงมีต้นทุนสูง
เกษตรกรในชุมชนได้นำทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำริมาประยุกต์ใช้ เช่น…
ชุมชนบ้านลิ่มทองในจังหวัดบุรีรัมย์ประสบปัญหาภัยแล้งและขาดแคลนน้ำมาเป็นเวลานาน ชาวบ้านต้องพึ่งพาน้ำฝนเพียงอย่างเดียว ทำให้ผลผลิตทางการเกษตรเสียหายและเกิดหนี้สินสะสม นางสนิท ทิพย์นางรอง หรือ น้าน้อย แกนนำชุมชน ได้เริ่มกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาชุมชนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542…
พิพิธภัณฑ์การแพทย์ศิริราช จัดแสดงนิทรรศการของแต่ละภาควิชาเพื่อใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ของนักศึกษาแพทย์และเปิดให้ประชาชนทั่วไปเข้าชม ให้ความรู้เชิงลึกด้านวิชาการและพัฒนาการจัดแสดงให้เหมาะสมกับปัจจุบันประกอบด้วย พิพิธภัณฑ์การแพทย์ 6 แห่ง คือ พิพิธภัณฑ์พยาธิวิทยาเอลลิส พิพิธภัณฑ์นิติเวชศาสตร์ สงกรานต์…
หอจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์รามาธิบดี ให้บริการข้อมูลทางด้านประวัติและพัฒนาการของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล และให้บริการสืบค้นข้อมูลทางด้านประวัติศาสตร์การแพทย์ การพยาบาล การสาธารณสุขของไทย
แบ่งส่วนจัดแสดงเป็น
นิทรรศการถาวร…
แหล่งเรียนรู้ด้านอวกาศของไทยที่นำเสนอสาระความรู้และความสนุกของเรื่องราวที่เกี่ยวกับอวกาศผ่านนิทรรศการและกิจกรรมน่ารู้มากมาย ที่นี่นับเป็นอีกหนึ่งแหล่งเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ที่ได้รับความสนใจจากทั้งเด็กและผู้ใหญ่…
พิพิธภัณฑ์และจดหมายเหตุ “สิรินธรทันตพิพิธ” คณะทันตแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จัดสร้างขึ้นเพื่อร่วมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสมหามงคลฉลองพระชนมายุ 5 รอบ และเพื่อส่งเสริมการศึกษา ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ ค้นคว้าด้วยตนเอง…
พิพิธภัณฑ์ร่างกายมนุษย์ เป็น 1 ใน 11 พิพิธภัณฑ์ของโลกและเป็นพิพิธภัณฑ์แห่งแรกของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่จัดแสดงร่างกายมนุษย์ด้วยเทคนิคพลาสติเนชัน ที่ช่วยรักษาสภาพร่างกายหรือชิ้นส่วนอวัยวะของมนุษย์ที่เสียชีวิต โดยใช้การแทนที่น้ำและไขมันในเนื้อเยื่อด้วยสารพลาสติกเหลว ทำให้ไม่มีกลิ่นฉุนของน้ำยา…
พิพิธภัณฑ์นิติเวชศาสตร์ สงกรำนต์ นิยมเสน นำเสนอให้เห็นว่างานนิติเวชศาสตร์มีบทบาทสำคัญในการนำวิชาแพทย์และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อหาสาเหตุการตายผิดธรรมชาติ โดย ศ.นพ.สงกรานต์ นิยมเสน ได้รวบรวมวัตถุพยานจากคดีที่สิ้นสุดจำนวนมาก มาจัดตั้งเป็นพิพิธภัณฑ์
พิพิธภัณฑ์นี้…
พิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ที่นี่นับเป็นพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของไทย ถือเป็นแหล่งรวบรวม จัดแสดงตัวอย่าง และเป็นแหล่งค้นคว้าอ้างอิงตัวอย่างด้านธรรมชาติวิทยาที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของไทยอีกด้วย ที่นี่จัดแสดงตัวอย่างทางธรรมชาติอย่างสวยงามและหลากหลาย…